กิจกรรมที่3
ให้นักศึกษาไปศึกษาผู้นำทางวิชาการจากเอกสาร, Internet, การสัมภาษณ์ ในประเด็นดังนี้
1. ประวัติของผู้นำทางวิชาการที่สำคัญ
2. ผลงานของนักวิชาการที่ปรากฏ
3. เราชอบผู้นำทางวิชาการในประเด็นอะไร
4. มีรูปถ่ายสถานที่ประกอบ
ประวัติดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์
ข้อมูลส่วนตัว
: ชื่อสกุล นาย อาทิตย์ อุไรรัตน์
: วัน เดือน ปีเกิด วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481
: สัญชาติ ไทย
: สถานะภาพ แต่งงาน มีบุตร-ธิดา 3 คน
: ชื่อสกุลภรรยา นางบุญนำ อุไรรัตน์
: วัน เดือน ปีเกิด วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481
: สัญชาติ ไทย
: สถานะภาพ แต่งงาน มีบุตร-ธิดา 3 คน
: ชื่อสกุลภรรยา นางบุญนำ อุไรรัตน์
: ที่อยู่ 73 ซอยอารีสัมพันธ์ 2 กรุงเทพฯ 10400 ประเทศไทย
การศึกษาและคุณวุฒิ
การศึกษาและคุณวุฒิ
: : รัฐศาสตร์ สาขาการทูตและการต่างประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
: : มหาบัณฑิต สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจาก Fletcher School of Law and Diplomacy, Tufts University, Massachusetts U.S.A.
: : มหาบัณฑิต สาขาการบริหารรัฐกิจจาก California State University, Los Angeles, U.S.A. M.S. (Public Service) California State University, Los Angeles, U.S.A.
: : ดุษฎีบัณฑิต ทางรัฐศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จาก University of Colorado, Boulder, Colorado, U.S.A.
ประวัติการทำงาน
: : ปลัดอำเภอเมือง จังหวัดนครนายก
: : หัวหน้าฝ่ายอัตรากำลังและฝึกอบรม สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการและพลเรือน
: : หัวหน้ากองวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
: : หัวหน้ากองบริหารทั่วไป การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
: : รองเลขาธิการคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
: : ที่ปรึกษาระเบียบบริหารของนายกรัฐมนตรี
: : ประธานคณะอนุกรรมการปรับปรุงระเบียบข้าราชการการพลเรือน
: : กรรมการการประปานครหลวง
: : ประธานอนุกรรมการพิจารณาปรับปรุงกิจการ การประปานครหลวง
: : ผู้ว่าการการประปานครหลวง
งานการเมือง
: : ผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
: : ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตป้อมปราบปทุมวัน
: : รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเลขาธิการพรรคชาติประชาธิปไตย
: : ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา
: : สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
: : เลขาธิการพรรคกิจประชาคม
: : กรรมาธิการการเศรษฐกิจ
: : กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากกรณีกฎหมายการค้า ปี 2531 ของสหรัฐอเมริกา
: : โฆษกพรรคเอกภาพ
: : กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาญัตติด่วนเพื่อศึกษาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาการขาดทุนของผู้ประกอบการ เลี้ยงกุ้งกุลาดำ
: : กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแก้ไข เพิ่มเติม
: : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
: : รองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม
: : กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณ
: : ประธานสภาผู้แทนราษฎร และรักษาการประธานรัฐสภา
: : หัวหน้าพรรคเสรีธรรม
: : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา
: : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
: : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา
: : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร
: : ที่ปรึกษาอาวุโส พรรคประชาธิปัตย์
: : ประธานฯ กรรมาธิการต่างประเทศ
: : รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
: : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม
ตำแหน่งปัจจุบัน
: : ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตป้อมปราบปทุมวัน
: : รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเลขาธิการพรรคชาติประชาธิปไตย
: : ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา
: : สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
: : เลขาธิการพรรคกิจประชาคม
: : กรรมาธิการการเศรษฐกิจ
: : กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากกรณีกฎหมายการค้า ปี 2531 ของสหรัฐอเมริกา
: : โฆษกพรรคเอกภาพ
: : กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาญัตติด่วนเพื่อศึกษาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาการขาดทุนของผู้ประกอบการ เลี้ยงกุ้งกุลาดำ
: : กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแก้ไข เพิ่มเติม
: : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
: : รองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม
: : กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณ
: : ประธานสภาผู้แทนราษฎร และรักษาการประธานรัฐสภา
: : หัวหน้าพรรคเสรีธรรม
: : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา
: : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
: : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา
: : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร
: : ที่ปรึกษาอาวุโส พรรคประชาธิปัตย์
: : ประธานฯ กรรมาธิการต่างประเทศ
: : รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
: : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม
ตำแหน่งปัจจุบัน
: : รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
: : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
: : ประธานกรรมการมูลนิธิ จอห์น อี.พิวรีฟอย
: : กรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช
: : อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต
ผลงานทางวิชาการที่ชื่นชอบ
การปฏิรูปสังคมไทยสู่สังคมธรรมาธิปไตย
สถานการณ์ของบ้านเมืองที่วิกฤติมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือว่าเป็น “วิกฤติที่สุดในโลก” ยิ่งเมื่อเปรียบเทียบไทยกับประเทศอื่นๆ ที่พัฒนาไปสู่ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เช่น ญี่ปุ่นที่เคยย่อยยับจากการแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2
( พ.ศ.2488 ) ส่วนสิงคโปร์และจีนที่เพิ่งพัฒนาแต่ก็ก้าวหน้าไปกว่าไทยซึ่งพัฒนามาก่อนและตั้งใจว่าจะเป็นเสือตัวที่ 5 ของเอเชีย แต่ขณะนี้ไทยกำลังอยู่ในสภาพที่เลวร้ายมาก ทั้งที่อยากจะเป็นประชาธิปไตย
( พ.ศ.2488 ) ส่วนสิงคโปร์และจีนที่เพิ่งพัฒนาแต่ก็ก้าวหน้าไปกว่าไทยซึ่งพัฒนามาก่อนและตั้งใจว่าจะเป็นเสือตัวที่ 5 ของเอเชีย แต่ขณะนี้ไทยกำลังอยู่ในสภาพที่เลวร้ายมาก ทั้งที่อยากจะเป็นประชาธิปไตย
แต่การเลือกตั้งเมื่อเดือน ธันวาคม 2550 เป็นการเลือกตั้งที่ทำให้ประชาธิปไตยเป็นแบบจอมปลอม มีการซื้อสิทธิ์ขายเสียงใช้อิทธิพลของรัฐและของผู้มีอิทธิพลต่างๆ ทำให้การเลือกตั้งที่ปรากฏออกมาไม่ได้เป็นการเลือกตั้งที่เป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
รัฐบาลก่อนหน้านี้มักอ้างว่า “ เป็นประชาธิปไตยเพราะมาจากการเลือกตั้ง” ซึ่งเป็นการเลือกตั้งที่มาจากความไม่สุจริตด้วยการซื้อเสียง ทำให้ได้นักการเมืองที่เข้ามาเพื่อกอบโกยผลประโยชน์เข้าตัวเอง ก่อให้เกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจ ทำให้ไทยต้องใช้น้ำมันราคาแพงกว่ามาเลเชีย เพราะรัฐบาลเอาการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) ซึ่งถือเป็นสมบัติของชาติไปขายให้เอกชนผ่านตลาดหลักทรัพย์ นี่เป็นการทำเพื่อประโยชน์ของชาติบ้านเมือง หรือทำเพื่อใครกันแน่ และยังจะมีความพยายามในการนำเอาทรัพย์สินอื่นๆ ของชาติไปขายอีก ความเป็นธรรมในสังคมจึงหาได้ยาก
พี่น้องประชาชนส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรซึ่งเป็นตัวแทนของความยากจน ในขณะที่เกษตรกรญี่ปุ่นมีรายได้ดีกว่าเกษตรกรของเรามาก อย่างเช่น เนื้อวัว ญี่ปุ่นที่เรารู้จักกันว่า เนื้อโกเบ ขายได้กิโลกรัมละหลายพันบาท
จริงๆ แล้ว ไทยมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาภาคเกษตร คือ แนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและระบบสหกรณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช หากนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาอย่างจริงจัง เราคงแก้ปัญหาให้ภาคเกษตรได้ อาจจะทำให้ชาวนาสามารถขายข้าวได้เกวียนละหมื่นห้าก็ได้
ปัญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้น ที่ก่อนหน้านี้มีกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ออกมาแสดงความเรียกร้องเพื่อหาทางออก แก้ปัญหาวิกฤติของสังคมไทย นั่นก็เป็นเรื่องของปลายเหตุเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มองค์กรใดๆ ที่ออกมา ล้วนแต่เป็นปลายเหตุ
ทำไมเราไม่แก้ที่ต้นเหตุ
การที่เราเรียกร้องให้รัฐบาลลาออกหรือยุบสภาเพื่อเลือกตั้งใหม่ กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและพรรคการเมืองหน้าเก่าๆ คงได้มาเหมือนเดิม ซึ่งเป็นวังวนแบบเดิมที่ไม่ได้ให้ความหวังอะไรแก่ประชาชนและประเทศชาติ
ประชาชนเป็นเจ้าของบ้านเมือง ต้องมีสิทธิที่จะวางอนาคตของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นใครก็ตามต้องมีสิทธิในการวางอนาคตของตนเอง ที่ไม่ใช่เฉพาะแค่ด้านการเมือง แต่อยากเห็นสังคมนี้เป็น “ สังคมธรรมาธิปไตย”
สังคมธรรมาธิปไตย คือสังคมที่มีความเป็นธรรม ต้องมีความเป็นธรรมมากขึ้น “ มีความเป็นธรรมอย่างไร” เป็นธรรมในทุกทาง ถ้าเผื่อทุกทางเป็นธรรม บ้านเมืองสงบสุข เจริญรุ่งเรือง ความเป็นธรรมที่ต้องเป็นธรรมทั้งทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ ทางสังคม มีธรรมะมีความถูกต้อง มีความชอบธรรมไม่มีการเอารัดเอาเปรียบ ไม่มีการรังแกข่มเหง ไม่มีการโกงกินทุจริตคอรัปชั่น ไม่มีการไม่ดีไม่งามทั้งหลาย สังคมนี้ต้องไม่มีสิ่งที่ไม่ดีและเลวร้าย กฎหมายก็ต้องเป็นธรรม การปฏิบัติงานของรัฐก็ต้องโปร่งใสและเป็นธรรม เพื่อเป้าหมายธรรมาธิปไตยคือ ประโยชน์สุขของมหาชนปวงชน
นั่นคือธรรมาธิปไตยอย่างแท้จริง สังคมนี้ก็จะมีความสุข ไม่มีเรื่องร้องเรียน ไม่มีเรื่องขัดแย้ง ไม่มีความไม่สงบสุขในสังคม ประชาชนก็จะทำมาหากินอย่างราบรื่น มีสันติสุขและก็ชีวิตที่ดีขึ้นเป็นลำดับ |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น